๑.ร้อยละผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
-ภาษาไทย
-คณิตศาสตร์
-วิทยาศาสตร์
-ภาษาอังกฤษ
-สังคมศึกษา ศาสนา
และ วัฒนธรรม
|
๑.กิจกรรมยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้
-ภาษาไทย
-คณิตศาสตร์
-วิทยาศาสตร์
-ภาษาอังกฤษ
-สังคมศึกษา ศาสนา
และ วัฒนธรรม
|
๑.โครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
|
กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
|
๒.ร้อยละผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรม
|
๒.กิจกรรมรักการอ่าน
|
๓.ร้อยละผู้เรียนที่ได้รับการเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมิน
๓.๑ร้อยละผู้เรียนที่มีผลการประเมินสูงขึ้นตามเป้าหมายของสถานศึกษา
|
๓.กิจกรรมเตรียมความรู้สู่การประเมิน
|
|
กลยุทธ์ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
|
๓.ร้อยละครูผู้สอนที่จัดกิจกรรมสอนซ่อมเสริม
๔.๑ร้อยละผู้เรียนที่มีปัญหาด้านการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระหลักได้รับการพัฒนาจากการสอนซ่อมเสริม
|
๔.กิจกรรมสอนซ่อมเสริม
|
๕.ร้อยละครูผู้สอนที่จัดทำวิจัยในชั้นเรียนและนำผลการวิจัยไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน
๕.๑ร้อยละผู้เรียนได้รับการพัฒนาจากการทำวิจัยในชั้นเรียน
|
๕.กิจกรรมวิจัยในชั้นเรียน
|
๖.จำนวนเหรียญรางวัลที่ ร.ร.ได้รับในการแข่งขันทักษะวิชาการ
ระดับกลุ่มโรงเรียน
ระดับเขตพื้นที่ฯ
ระดับภาคฯ
ระดับชาติ
|
๖.กิจกรรมแข่งขันทักษะวิชาการ
|
๗.ปริมาณสื่อและนวัตกรรมที่ร.ร.มีให้บริการในการจัดการเรียนการสอน
๗.๑ร้อยละครูที่ใช้สื่อ นวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอน
๗.๒ร้อยละผู้เรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นตามเป้าหมายของสถานศึกษา
|
๗.กิจกรรมจัดหาสื่อ นวัตกรรมการเรียนการสอน
|
|
กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
|
๑.ร้อยละผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมที่ ร.ร.กำหนด
๑.๑ร้อยละผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑.๒ร้อยละผู้เรียนที่มีความรู้ความเข้าใจและดำเนินชีวิตตามแนวทางระบบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
|
๑.กิจกรรมอบรมคุณธรรมนักเรียน
๒.กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย
๓.กิจกรรมหน้าเสาธง
๔.กิจกรรมนั่งสมาธิ
๕.กิจกรรมยิ้มไหว้ทักทายกัน
๖.กิจกรรมโรงเรียนดีศรีตำบล
|
๒.โครงการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
|
|
๑.กิจกรรมวันเด็ก
๒.กิจกรรมวันไหว้ครู
๓.กิจกรรมวันสุนทรภู่/
วันต่อต้านยาเสพติด
๔.กิจกรรมวันเข้าพรรษา
๕.กิจกรรมวันแม่แห่งชาติ
๖.กิจกรรมสัปดาห์วิทยาศาสตร์
๗.กิจกรรมวันภาษาไทย/
กิจกรมวันสถาปนาลูกเสือ
|
๓.โครงการวันสำคัญ
|
|
๑.จำนวนครั้งที่ร.ร.มีการประชาสัมพันธ์นโยบายร.ร.ส่งเสริมสุขภาพ
๒.จำนวนแหล่งบริการด้านสุขภาพที่ ร.ร.จัดให้บริการ
|
๑.กิจกรรมประชาสัมพันธ์นโยบายโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
๒.กิจกรรมจัดสิ่งแวดล้อมใน ร.ร. ที่เอื้อต่อสุขภาพ
|
๑.โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
|
กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
|
๓.จำนวนครั้งที่ผู้เรียนได้รับบริการตรวจสุขภาพจาก ร.ร. และ รพ.ส่งเสริมสุขภาพระดับตำบล
|
๓.กิจกรรมการบริการอนามัยโรงเรียน
|
๔.อัตราส่วนของแหล่งให้บริการต่อจำนวนนักเรียน
๔.๑จำนวนแหล่งให้บริการมีความสะอาดและปลอดภัยต่อผู้รับบริการ
|
๔.กิจกรรมให้บริการน้ำดื่ม น้ำใช้ ห้องน้ำ ห้องส้วม
|
๕.ร้อยละผู้เรียนที่ได้รับความรู้จากนโยบาย กิจกรรม อย.น้อย
๕.๑ร้อยละผู้เรียนที่นำความรู้ที่ได้รับจากนโยบายกิจกรรม อย.น้อยไปปฏิบัติ
|
๕.กิจกรรม อย.น้อย
|
๖.ร้อยละผู้เรียนชั้น
ป.๑-ป.๖ได้รับการตรวจสุขภาพฟันจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขอย่างน้อยปีละ ๒ ครั้ง
๖.๑ร้อยละผู้เรียนชั้น
ป.๑-ป.๖ มีสุขภาพฟันตามเกณฑ์
|
๖.กิจกรรมส่งเสริมเด็กไทยฟันดี
|
|
กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
|
๗.ร้อยละผู้เรียนที่ได้รับบริการอาหารเสริม(นม)
|
๗.กิจกรรมให้บริการอาหารเสริม(นม)
|
๑.ร้อยละผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมกีฬาภายใน
๑.๑จำนวนประเภทกีฬาที่ ร.ร. ผ่านการคัดเลือกเข้าแข่งขันในระดับต่างๆ
๒.๑ร้อยละผู้เรียนที่เข้าร่วมกีฬาต้านยาเสพติด
|
๑.กิจกรรมกีฬาภายในและกีฬาระดับต่างๆ
๒.กิจกรรมกีฬาต้านยาเสพติด
|
๒.โครงการกีฬาและนันทนาการ
|
๑.ร้อยละประชากรวัยเรียนที่ ร.ร. สามารถสำรวจได้
๒.จำนวนประชากรวัยเรียนที่จะเข้าเรียนในระดับชั้น อบ.๑ ป. ๑
ม. ๑ที่สมัครเข้าเรียน
|
๑.กิจกรรมการจัดทำเขตบริการ
๒.กิจกรรมสำรวจข้อมูลประชากรวัยเรียนประจำปีการศึกษา
๓.กิจกรรมจัดทำแผนการรับนักเรียน
|
๓.โครงการเกณฑ์เด็ก
เข้าเรียน
|
๑.การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาหลักสูตรปฐมวัยระดับสถานศึกษา
๒.ปริมาณสื่อ นวัตกรรมที่ ร.ร. มีให้บริการในการจัดประสบการณ์ระดับปฐมวัย
๒.๑ร้อยละครูผู้สอนที่ใช้สื่อ นวัตกรรมในการจัดประสบการณ์ระดับปฐมวัย
๓.ร้อยละผู้เรียนที่ได้รับการประเมิน
๓.๑ร้อยละผู้เรียนที่ผ่านการประเมิน
|
๑.กิจกรรมพัฒนาหลักสูตรปฐมวัยระดับสถานศึกษา
๒.กิจกรรมจัดหาและพัฒนาสื่อ
๓.กิจกรรมประเมิน/รายงานผลการประเมินพัฒนาการด้านปฐมวัย
|
๔.โครงการส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาระดับปฐมวัย
|
กลยุทธ์ที่ ๒ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
|
๑.ร้อยละผู้เรียนที่ได้รับการพัฒนาการเรียนรู้โดยมีข้อมูลนักเรียนรายบุคคล
๑.๒ร้อยละครูผู้สอนที่มีการจัดทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคล
๑.๓ร้อยละครูผู้สอนที่ใช้ข้อมูลนักเรียนรายบุคคลในการพัฒนาผู้เรียน
|
๑.กิจกรรมจัดทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคล
|
๕.โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
|
๒.ร้อยละผู้เรียนที่ครูผู้สอนออกเยี่ยมบ้าน
๓.ร้อยละผู้เรียนที่ได้รับการแนะแนว
๓.๑ร้อยละผู้เรียนที่สามารถวางแผนในการดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพ
๔.ร้อยละผู้เรียนที่ได้รับทุนการศึกษา
๕.ร้อยละผู้เรียนขาดเรียน
ที่ ร.ร.ติดตามกลับมาเรียน
๖.ร้อยละผู้เรียนและผู้ปกครองที่เข้ารับการปฐมนิเทศ
๗.ร้อยละผู้เรียนและผู้ปกครองที่เข้ารับการปัจฉิมนิเทศ
|
๒.กิจกรรมเยี่ยมบ้านนักเรียน
๓.กิจกรรมแนะแนว
๔.กิจกรรมทุนการศึกษา
๕.กิจกรรมติดตามนักเรียนขาดเรียน
๖.กิจกรรมปฐมนิเทศ
๗.กิจกรรม
ปัจฉิมนิเทศ
|
|
กลยุทธ์ที่ ๒
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา
|
|
๑.กิจกรรมบริการอาหารกลางวันนักเรียนขาดแคลนระดับมัธยมศึกษา
๒.กิจกรรมจัดหาเครื่องแบบนักเรียนนักเรียนขาดแคลนระดับประถมศึกษา
๓.กิจกรรมจัดหาเครื่องแบบนักเรียนนักเรียนขาดแคลนระดับมัธยมศึกษา
๑.กิจกรรมจัดหาหนังสือเรียน
๒.กิจกรรมให้บริการอุปกรณ์การเรียน
๓.กิจกรรมให้บริการเครื่องแบบนักเรียน
๔.กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
-กิจกรรมวิชาการ
-กิจกรรมคุณธรรม
-กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี
-กิจกรรมทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรู้
-กิจการให้บริการสารสนเทศ/ICT
|
๖.โครงการกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่าเทียม
๗.โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา
|
๑.ร้อยละบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
๒.ร้อยละผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่ให้ความร่วมมือ
๒.๑ร้อยละผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความพึงพอใจ
|
๑.กิจกรรมพัฒนา
บุคลากร
๒.กิจกรรมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
|
๘.โครงการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
|
๑.ร้อยละของแหล่งเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาและพร้อมใช้
๒.ร้อยละผู้เรียนที่ใช้แหล่งเรียนรู้ภายใน/ภายนอกสถานศึกษา
|
๑.กิจกรรมพัฒนาแหล่งเรียนรู้ภายใน/ภายนอกสถานศึกษา
๒.กิจกรรมใช้แหล่งเรียนรู้ภายใน/ภายนอกสถานศึกษา
|
๑.โครงการพัฒนาและใช้แหล่งเรียนรู้
|
กลยุทธ์ที่ ๓
สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้
|
๑.ร้อยละของอาคารสถานที่ที่ได้รับการปรับปรุงให้มีความปลอดภัยและเอื้อต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน
๒.๑ร้อยละผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาแหล่งน้ำและสาธารณสถาน
๒.๒ร้อยละของชุมชนที่มีความพึงพอใจต่อผลการจัดกิจกรรม
|
๑.กิจกรรมพัฒนาแหล่งน้ำและสาธารณะสถาน
|
๒.โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
|
๑.อัตราส่วนของแหล่งให้บริการต่อจำนวนนักเรียน
๑.๑จำนวนแหล่งให้บริการมีความสะอาดและปลอดภัยต่อผู้รับบริการ
|
๑.กิจกรรมให้บริการ
สาธารณูปโภค
|
๓.โครงการให้บริการ
สาธารณูปโภค
|
๑.จำนวนครั้งที่ให้บริการเสียงตามสาย
๒.จำนวนครั้งที่ ร.ร.มีการประชาสัมพันธ์สู่ชุมชน
|
๑.กิจกรรมเสียงตามสายหรรษา
๒.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ชุมชน
|
๔.โครงการประชาสัมพันธ์
|
๑.สัดส่วนของวัสดุอุปกรณ์เพียงพอต่อผู้รับบริการ
๒.ร้อยละผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการอาหารกลางวัน
๒.๑ร้อยละผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการตามเกณฑ์มาตรฐาน
|
๑.กิจกรรมจัดหาวัสดุและอุปกรณ์
๒.กิจกรรมการให้บริการอาหารกลางวัน
|
๑.โครงการอาหารกลางวัน
|
กลยุทธ์ที่ ๔
ส่งเสริม
อัตลักณ์ของสถานศึกษาให้โดดเด่น
|
๑.ร้อยละผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจและทักษะในกระบวนการผลิตยางพารา
๑.๑ร้อยละผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายสามารถดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงได้
|
๑.กิจกรรมยางพาราสร้างอาชีพ
|
๒.โครงการเส้นทางสู่อาชีพ
|
๒.ร้อยละผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคนิคและวิธีการเพาะเห็ด
๒.๑ร้อยละผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถ
เพาะเลี้ยงเห็ดชนิดต่างๆได้
๒.๒ร้อยละผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการสามารถดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงได้
|
๒.กิจกรรมการเพาะเห็ด
|
|
๑.ร้อยละผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมออมทรัพย์
๒.ร้อยละผู้เรียนมีความรู้และตระหนักในการใช้ปัจจัยพื้นฐานในการดำรงชีวิต
๑.๒.ร้อยละครูผู้สอนที่นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการในการเรียนการสอน
|
๑.กิจกรรมออมทรัพย์
๒.กิจกรรมพอเพียงเคียง
หนองโด
|
๓.โครงการส่งเสริมการดำรงชีวิตอย่างพอเพียง
|
|
๑.ร้อยละบุคลากรที่ได้รับมอบหมายงานตามความรู้และความถนัด
|
๑.กิจกรรมมอบหมายหน้าที่การงาน
|
๑.โครงการจัดสร้างระบบการบริหารงาน
|
กลยุทธ์ที่ ๕
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒
|
๑.ร้อยละบุคลากรที่ได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติงาน
๒.ร้อยละบุคลากรที่ได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงาน
|
๑.กิจกรรมเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
๒.กิจกรรมประเมินผลการปฏิบัติงาน
|
๒.โครงการพัฒนา
บุคลากร
|
๓.ร้อยละครูผู้สอนที่ได้รับการนิเทศ
๔.ร้อยละบุคลากรที่มีความพึงพอใจต่อการจัดสวัสดิการของหน่วยงาน
๕.ร้อยละบุคลากรที่เข้ารับการอบรมและศึกษาดูงาน
|
๓.กิจกรรมนิเทศภายใน
๔.กิจกรรมจัดสวัสดิการ
๕.กิจกรรมอบรมและศึกษาดูงาน
|
|
กลยุทธ์ที่ ๕
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒
|
๑.ร้อยละสิ่งก่อสร้างที่ชำรุดได้รับการปรับปรุงและซ่อมแซม
|
๑.กิจกรรมปรับปรุงซ่อมแซมสิ่งก่อสร้าง
|
๓.โครงการปรับปรุงอาคารเรียนและอาคารประกอบ
|
๑.ร้อยละผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับดี
|
๑.กิจกรรมยอดคนดี
ศรีหนองโดฯ
|
๔.โครงการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามนโยบายต้นสังกัด
|
กลยุทธ์ที่ ๕
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒
กลยุทธ์ที่ ๕
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒
|
๑.ร้อยละของบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกำหนดแนวทางพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
๒.ร้อยละของบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
|
๑.กิจกรรมสร้างระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
๒.กิจกรรมกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
|
๕.โครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
|
๓.ร้อยละของบุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๔.ร้อยละของข้อมูลสาระสนเทศที่สามารถนำไปใช้ในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
๕.จำนวนครั้งที่สถานศึกษาได้รับการติดตามตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาของ
|
๓.กิจกรรมการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
๔.กิจกรรมจัดระบบและสาระสนเทศภายในสถานศึกษา
๕.กิจกรรมการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
|
๖.สถานศึกษาได้รับการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๖.๑ร้อยละผลการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอยู่ในระดับดีขึ้นไป
|
๖.กิจกรรมการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
|
|
๗.สถานศึกษาจัดทำรายงานประจำปีตามรูปแบบที่หน่วยงานต้นสังกัดกำหนด
๘.ร้อยละบุคลากรที่มีส่วนในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
|
๗.กิจกรรมจัดทำรายงานประจำปี
๘.กิจกรรมพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
|
กลยุทธ์ที่ ๕
พัฒนาคุณภาพสถานศึกษาตามแนวปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่ ๒
|