โรงเรียนวัดโป่งมงคล อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี สพป.สระบุรี เขต 2
ชื่อครูผู้สอนวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 นางพรรณี แก้ววิเชียร
/ เป็น ห้องเรียนที่ปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ชั้น ป.2 จำนวนนักเรียนทั้งหมด 4 คน
เป็น ห้องเรียนที่ยังมีนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ชั้น ป.2 จำนวนนักเรียน...........คน
หมายเหตุ (เด็กปกติ 2 คน พิเศษ 2 คน)
ผลการดำเนินงาน
1. ครูผู้สอนวิชาภาษาไทยสามารถนำเทคนิคการเรียนการสอนไปใช้ในการสอนโดยมีวิธีการหรือจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนชั้น ป.2 อย่างไร
- จัดมุมความรู้ภายในห้องเรียน
- ส่งเสริมการอ่าน เช่น นิทาน การ์ตูนคุณธรรม ฯลฯ
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ DLIT
- เขียนคำพื้นฐาน ด้วยการเขียนตามคำบอก วันละ 10 คำ
- การฝึกอ่านแบบแจกลูกประสมคำ
2. สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน และนอกห้องเรียนที่สถานศึกษาจัดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาไทยมีอะไรบ้าง
-สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน ได้แก่ มีมุมความรู้ มุมรักการอ่าน ป้ายนิเทศ มุมสื่อการเรียนการสอน ผลงานนักเรียน
-สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียน ได้แก่ การจัดกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ กิจกรรมภาษาไทยวันละคำ กิจกรรมรักการอ่าน
3. บอกรายละเอียดความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดีในการดำเนินงาน
- อ่านบัตรคำ
- การเขียนตามคำบอก
- การอ่านนิทานให้เพื่อนฟัง
- เรียนรู้การอ่านภาษาไทย จากสื่อภายใน และภายนอกห้องเรียน
- เรียนรู้จากสื่อดิจิตอล
4. บอกรายละเอียดประโยชน์หรือมีผลกระทบทางบวกที่เกิดแก่ผู้เรียน
- การได้ฝึกอ่านแบบแจกลูกประสมคำ และการฝึกอ่านบัตรคำ ทำให้นักเรียนอ่านหนังสือได้คล่องขึ้น สื่อนิทานเป็นเรื่องที่น่าสนุกชวนอ่าน นักเรียนจึงมีแรงจูงใจในการฝึกฝนตนเองให้อ่านได้ จะได้อ่านได้ด้วยตนเอง
5. ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
- หนังสือนิทานมีน้อย ควรจัดหาสื่อที่มีภาพสวยงาม และเนื้อหาที่น่าอ่านเพิ่มเติม
โรงเรียนวัดโป่งมงคล อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี สพป.สระบุรี เขต 2
ชื่อครูผู้สอนวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 นางพรรณี แก้ววิเชียร
/ เป็น ห้องเรียนที่ปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ชั้น ป.2 จำนวนนักเรียนทั้งหมด 4 คน
เป็น ห้องเรียนที่ยังมีนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ชั้น ป.2 จำนวนนักเรียน...........คน
หมายเหตุ (เด็กปกติ 2 คน พิเศษ 2 คน)
ผลการดำเนินงาน
1. ครูผู้สอนวิชาภาษาไทยสามารถนำเทคนิคการเรียนการสอนไปใช้ในการสอนโดยมีวิธีการหรือจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนชั้น ป.2 อย่างไร
- จัดมุมความรู้ภายในห้องเรียน
- ส่งเสริมการอ่าน เช่น นิทาน การ์ตูนคุณธรรม ฯลฯ
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ DLIT
- เขียนคำพื้นฐาน ด้วยการเขียนตามคำบอก วันละ 10 คำ
- การฝึกอ่านแบบแจกลูกประสมคำ
2. สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน และนอกห้องเรียนที่สถานศึกษาจัดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาไทยมีอะไรบ้าง
-สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน ได้แก่ มีมุมความรู้ มุมรักการอ่าน ป้ายนิเทศ มุมสื่อการเรียนการสอน ผลงานนักเรียน
-สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียน ได้แก่ การจัดกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ กิจกรรมภาษาไทยวันละคำ กิจกรรมรักการอ่าน
3. บอกรายละเอียดความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดีในการดำเนินงาน
- อ่านบัตรคำ
- การเขียนตามคำบอก
- การอ่านนิทานให้เพื่อนฟัง
- เรียนรู้การอ่านภาษาไทย จากสื่อภายใน และภายนอกห้องเรียน
- เรียนรู้จากสื่อดิจิตอล
4. บอกรายละเอียดประโยชน์หรือมีผลกระทบทางบวกที่เกิดแก่ผู้เรียน
- การได้ฝึกอ่านแบบแจกลูกประสมคำ และการฝึกอ่านบัตรคำ ทำให้นักเรียนอ่านหนังสือได้คล่องขึ้น สื่อนิทานเป็นเรื่องที่น่าสนุกชวนอ่าน นักเรียนจึงมีแรงจูงใจในการฝึกฝนตนเองให้อ่านได้ จะได้อ่านได้ด้วยตนเอง
5. ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
- หนังสือนิทานมีน้อย ควรจัดหาสื่อที่มีภาพสวยงาม และเนื้อหาที่น่าอ่านเพิ่มเติม
โรงเรียนวัดโป่งมงคล อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี สพป.สระบุรี เขต 2
ชื่อครูผู้สอนวิชาภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 นายธีรภัทร ยิ้มลมูล
/ เป็น ห้องเรียนที่ปลอดนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ชั้น ป.3 จำนวนนักเรียนทั้งหมด 5 คน
/ เป็น ห้องเรียนที่ยังมีนักเรียนอ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ชั้น ป.3 จำนวนนักเรียน 1 คน
ผลการดำเนินงาน
1. ครูผู้สอนวิชาภาษาไทยสามารถนำเทคนิคการเรียนการสอนไปใช้ในการสอนโดยมีวิธีการหรือจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ของนักเรียนชั้น ป.3 อย่างไร
- เขียนตามคำบอก
- อ่านจับใจความ เล่านิทาน คัด/ท่อง/อ่านคำอาขยาน การบ้าน
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้สื่อ DLIT
- เขียนคำพื้นฐาน ด้วยการเขียนตามคำบอก วันละ 10 คำ
- เรียนรู้ผ่าน Tablet
2. สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน และนอกห้องเรียนที่สถานศึกษาจัดเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาไทยมีอะไรบ้าง
-สภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน ได้แก่ มีมุมความรู้ มุมรักการอ่าน ป้ายนิเทศ มาตราตัวสะกด
-สภาพแวดล้อมภายนอกห้องเรียน ได้แก่ การจัดกิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ กิจกรรมภาษาไทยวันละคำ กิจกรรมรักการอ่าน ป้ายนิเทศ ป้ายข่าวสาร
3. บอกรายละเอียดความโดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม/ต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดีในการดำเนินงาน
- นักเรียนมีความสนใจ การเรียนการสอนผ่านระบบ e – leaning บนเว็บ Krupatom.com
4. บอกรายละเอียดประโยชน์หรือมีผลกระทบทางบวกที่เกิดแก่ผู้เรียน
- นักเรียนส่วนมากมีความสนใจ ติดตามทบทวนบทเรียน พร้อมรับสิ่งใหม่ ๆ เสมอ
- เรียนรู้จากสื่อดิจิตอล
5. ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดำเนินงาน
- มีนักเรียนบางคนขาดความสนใจที่จะแสวงหาความรู้ใหม่