แผนพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล
โดยกำหนดผลลัพธ์ (Outcome) ตามองค์ประกอบ 10 ขั้นตอน
โรงเรียนบ้านหนองโดดอนเสียดอำเภอโซ่พิสัย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ
มีนาคม 2562
คำนำ
โรงเรียนบ้านหนองโดดอนเสียด จัดทำแผนพัฒนาโรงเรียนคุณภรพประจำตำบล เพื่อใช้เป็นกรอบการดำเนินงานและขับเคลื่อนการบริหารจัดการศึกษา โดยมีสาระสำคัญประกอบด้วย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ แผนงาน โครงการ กิจกรรม และงบประมาณ ซึ่งได้มีการ วิเคราะห์โดยกำหนดกลยุทธ์ที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับทุกประเภท ขยายโอกาสเข้าถึงบริการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ถั่วถึง ครอบคลุมผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตามศักยภาพและมีคุณภาพ พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา และพัฒนาระบบการบริหารจัดการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ในการจัดทำแผนปฏิบัติการครั้งนี้ ยังประกอบไปด้วยสภาพปัจจุบัน ทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน สรุปงบประมาณ/โครงการ รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
ขอขอบคุณคณะทำงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลให้สำเร็จลุล่วงเป็นประโยชน์ต่อการขับเคลื่อนการบริหารจัดการศึกษา ส่งผลให้นักเรียนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง และมีคุณภาพตามศักยภาพเท่าเทียมกัน
โรงเรียบ้านหนองดดดอนเสียด
บทที่ ๑
ภาพรวมของสถานศึกษา
ความเป็นมา
โรงเรียนบ้านหนองโดดอนเสียด ตั้งอยู่หมู่ที่ ๖ บ้านหนองโด ตำบลคำแก้ว อำเภอโพนพิสัย (โซ่พิสัย) จังหวัดหนองคาย (บึงกาฬ) เดิมชื่อว่าโรงเรียนวัดบ้านหนองโด เพราะใช้ศาลาวัดบ้านหนองโดเป็นสถานที่เรียน และมีนายตัน ไกยวงศ์ เป็นครูใหญ่คนแรก
พ.ศ .๒๕๑๓ ได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนถาวร ขนาด ๔ ห้องเรียนแบบ ป๑ซ.
จำนวน ๑ หลัง และได้ย้ายจากสถานที่วัดบ้านหนองโด มาทำการเรียนการสอนที่อาคารหลังใหม่บนพื้นที่ 25 ไร่ซึ่งราษฎรบริจาคให้เป็นที่ดินของโรงเรียน พร้อมเปลี่ยนชื่อโรงเรียนเป็น “โรงเรียนบ้านหนองโด”
พ.ศ.๒๕๑๕ กระทรวงมหาดไทยได้แบ่งเขตการปกครองของอำเภอโพนพิสัยออกเป็น
กิ่งอำเภอ อีก ๑ กิ่งอำเภอ มีชื่อว่า “กิ่งอำเภอโซ่พิสัย” โรงเรียนบ้านหนองโด จึงได้ย้ายมาสังกัดกิ่งอำเภอโซ่พิสัย
พ.ศ.๒๔๑๖ โรงเรียนได้ขยายการศึกษาระดับประถมศึกษาตอนปลายขึ้น โดยเปิดการเรียนการสอน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕
พ.ศ. ๒๕๑๘ โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนขนาด ๒ ห้องเรียน แบบ ป.๑ ฉ. จำนวน ๑ หลัง และบ้านพักครูขนาด ๒ ห้อง แบบองค์การฯ จำนวน ๑ หลัง
พ.ศ. ๒๕๒๑ โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนขนาด ๔ ห้องเรียน แบบ ป.๑ ฉ. จำนวน ๑ หลัง และในปีเดียวกันนี้ รัฐบาลได้ประกาศยกเลิก แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๐๓
มาใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช ๒๕๒๐ โดยจัดการศึกษาเป็นระบบ ๖ : ๓ : ๓ ตามหลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช ๒๕๒๑ โรงเรียนจึงขึ้นต่อสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ
ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
พ.ศ.๒๕๒๔ โรงเรียนได้รับงบประมาณต่อเติมอาคารเรียนชั้นล่างจำนวน ๔ ห้องเรียน
แบบ ป.๑ ฉ.และก่อสร้างส้วมขนาด ๓ ที่ จำนวน ๑ หลัง
พ.ศ.๒๕๒๕ คณะกรรมการศึกษา ชาวบ้าน ได้มีมติเปลี่ยนชื่อโรงเรียนจาก“โรงเรียนบ้านหนองโด” มาเป็น “โรงเรียนบ้านหนองโดดอนเสียด”จึงเสนอเรื่องขออนุมัติจาก สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดหนองคาย และได้รับอนุมัติในปีเดียวกัน และโรงเรียนได้รับความช่วยเหลือ โดยความร่วมมือจากองค์การยูนิเซฟ ได้รับงบประมาณปรับปรุงห้องสมุดกลุ่มโรงเรียน โรงฝึกงานพร้อม จัดสรรแบบเรียนและวัสดุอุปกรณ์รวมหลายรายการในปีเดียวกัน
พ.ศ. ๒๕๒๖ โรงเรียนได้เปิดการเรียนการสอนชั้นเด็กเล็ก ๑ ห้องเรียน
พ.ศ.๒๕๒๗ โรงเรียนได้รับอนุมัติปรับปรุงการกำหนดตำแหน่งของผู้บริหารสถานศึกษา
จาก “ครูใหญ่” เป็นตำแหน่ง “อาจารย์ใหญ่”
พ.ศ.๒๕๒๘ โรงเรียนได้รับงบประมาณค่าติดตั้งไฟฟ้า จำนวน ๑๕,๐๐๐ บาท และในปีเดียวกันนี้ สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ อนุมัติให้โรงเรียนเป็นที่ตั้งของ “ศูนย์วิชาการกลุ่ม”
พ.ศ.๒๕๒๙ โรงเรียนได้รับงบประมาณ จำนวน ๔๐,๐๐๐ บาท ได้ดำเนินการเรียนการสอนตามโครงการศึกษาเพื่อพัฒนาหมู่บ้านในเขตชนบทยากจน (กศ.พช) และเริ่มดำเนินการในปีการศึกษา ๒๕๒๙
พ.ศ. ๒๕๓๑ โรงเรียนได้รับงบประมาณหมวดค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้างดังนี้
๑.ต่อเติมศูนย์วิชาการกลุ่มโดยต่อต่อเติมชั้นล่างของอาคารเรียน แบบ ป ๑.ฉ
๒.ก่อสร้างถังน้ำซีเมนต์ แบบ ฝ. ๓๓ จำนวน ๑ ชุด ราคา ๓๖,๐๐๐ บาท
๓.ซ่อมแซมอาคารเรียน แบบ ป๑.ฉ โดยเปลี่ยนบันได ๒ ที่ และอาคารเรียน
แบบ ป ๑.ซ. โดยเปลี่ยนประตู จำนวน ๘ ชุด เปลี่ยนหน้าต่าง จำนวน ๒๗ คู่ ทาน้ำมันรักษาเนื้อไม้ ๑ ปี๊บ งบประมาณ ๔๐,๗๐๐ บาท
พ.ศ. ๒๕๓๘ โรงเรียนบ้านหนองโดดอนเสียดได้รับงบประมาณ จำนวน ๓๘๙,๕๐๐ บาท เพื่อก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์ แบบ สปช. ๒๐๓/๒๖ จำนวน ๑ หลัง
พ.ศ.๒๕๔๓ โรงเรียนได้รับงบประมาณเพื่อก่อสร้างอาคารเรียน แบบ สปช.๑๐๕/๒๙
จำนวน ๑ หลัง
พ.ศ.๒๕๕๘โรงเรียนได้รับงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียนแบบสปช.๑๐๕/๒๙ ปรับปรุง ๒ชั้น๔ห้องเรียน (ใต้ถุนโล่ง) จำนวน ๑ หลัง
ปัจจุบันโรงเรียนบ้านหนองโดดอนเสียด เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับอนุบาลปีที่ ๑ ถึงชั้นมัธยมศึมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยมีนายประดิษฐ์พาโพนงาม ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียน ตั้งแต่วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๘ เป็นต้นมา และรับนักเรียนในเขตบริการจำนวน ๓ หมู่บ้าน คือ บ้านหนองโด บ้านดอนเสียด บ้านดอนโพธิ์ทอง และเขตบริการในระดับขยายโอกาส คือบ้านคำแก้ว บ้านโนนสามัคคี
ข้อมูลด้านบุคลากร
บุคลากรประจำการ
|
จำนวนบุคลากร
|
วุฒิการศึกษา
|
หมายเหตุ
|
|
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
ต่ำกว่า ป.ตรี
|
ปริญญาตรี
|
สูงกว่า ป.ตรี
|
|
|
ผู้บริหารสถานศึกษา
|
๑
|
|
๑
|
|
|
๑
|
|
|
รองผู้บริหารฯ
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
-
|
|
|
ครูผู้สอน
|
๓
|
๑๓
|
๑๖
|
|
๑๓
|
๓
|
|
|
อัตราจ้าง
|
-
|
-
|
-
|
|
|
|
|
|
ครูธุรการ
|
|
๑
|
๑
|
๑
|
๑
|
|
|
|
ครูพี่เลี้ยงเด็กพิการ
|
๑
|
|
๑
|
|
๑
|
|
|
|
ลูกจ้างชั่วคราว
|
๑
|
|
๑
|
|
๑
|
|
นักการฯ
|
|
พนักงานบริการ
|
๑
|
๑
|
๒
|
๒
|
|
|
|
|
ข้อมูลด้านอาคารสถานที่
อาคารเรียน
|
สร้างปี พ.ศ.
|
งบประมาณ
|
หมายเหตุ
|
อาคารเรียนแบบ ป.๑ ซ
|
๒๕๑๒
|
๑๒๐,๐๐๐ บาท
|
รื้อถอน สร้างใหม่
|
อาคารเรียนแบบ ป.๑ฉ
|
๒๕๑๘
|
๘๐,๐๐๐ บาท
|
ต่อเติม ซ่อมแซม
|
บ้านพักครูแบบองค์การฯ
|
๒๕๒๐
|
๔๐,๐๐๐ บาท
|
ซ่อมแซม
|
โรงฝึกงานแบบองค์การฯ
|
๒๕๒๑
|
๖๐,๐๐๐ บาท
|
ซ่อมแซม
|
ส้วมขนาด ๒ ที่
|
๒๕๒๑
|
๔,๐๐๐ บาท
|
รื้อถอน
|
อาคารเรียนแบบ ป ๑ ฉ
|
๒๕๒๑
|
๒๔๐,๐๐๐ บาท
|
ต่อเติม ซ่อมแซม
|
ส้วม ๓ ที่ แบบสปช.
|
๒๕๒๔
|
๑๕,๐๐๐ บาท
|
ซ่อมแซม
|
สนามฟุตบอล แบ พ.๓ พิเศษ
|
๒๕๓๒
|
๒๗๒,๐๐๐ บาท
|
|
สนามวอลเลย์บอล
|
๒๕๓๒
|
๖๐,๐๐๐ บาท
|
|
ส้วม แบบ สปช.๖๐๑/๒๖
|
๒๕๓๔
|
๘๐,๐๐๐ บาท
|
|
ส้วม แบบ สปช.๖๐๑/๒๖
|
๒๕๓๕
|
๗๘,๓๕๐ บาท
|
|
อาคารอเนกประสงค์ ๒๐๓/๒๖
|
๒๕๓๘
|
๓๘๙,๕๐๐ บาท
|
|
สนามบาสเกตบอล
|
๒๕๔๒
|
๑๘๐,๓๖๐ บาท
|
ซำรุด ใช้การไม่ได้
|
อาคารเรียน แบบ สปช.๑๐๕/๒๖
|
๒๕๔๓
|
๑,๗๗๘,๐๐๐ บาท
|
|
|
|
|
|
อาคารเรียน
|
สร้างปี พ.ศ.
|
งบประมาณ
|
หมายเหตุ
|
ส้วม แบบ สพฐ ๔
|
๒๕๕๓
|
๓๔๐,๐๐๐ บาท
|
|
อาคารเรียนแบบ สปช.๑๐๕/๒๖
|
๒๕๕๘
|
๓,๔๘๓,๑๐๐ บาท
|
|
ส้วมนักเรียนหญิง ๔/๔๙
|
๒๕๖๐
|
๓๗๑,๑๐๐ บาท
|
|
โรงอาหารทรงจั่ว
|
๒๕๖๐
|
๕๑๘,๓๕๗ บาท
|
เงินบริจาค
|
ศาสาพักร้อน
|
๒๕๖๑
|
๑๔๐,๐๐๐ บาท
|
เงินบริจาค
|
สนามกีฬาแบบกรมพลศึกษา
|
๒๕๖๑
|
๑๕๗,๕๐๐ บาท
|
|
ข้อมูลด้านนักเรียน
ชั้น
|
จำนวนนักเรียน
|
ครูประจำชั้น /
ครูที่ปรึกษา
|
หมายเหตุ
|
ชาย
|
หญิง
|
รวม
|
ชั้นอนุบาลปีที่ 2
|
12
|
16
|
28
|
นางสาวจราพร ทารกะจัด
|
|
ชั้นอนุบาลปีที่ 3
|
16
|
16
|
32
|
นางลิลิตา เหมะธุลิน
|
|
รวมชั้นอนุบาล
|
28
|
32
|
60
|
|
|
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
|
10
|
10
|
20
|
นางสิรินทร์ ข่าขันมะลี
|
|
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
|
11
|
14
|
25
|
นางสาวสุทัศน์ตรา ศรีหลิ่ง
|
นางสุภาภรณ์ แก้วมณี
|
ชั้นประถมศึกษาปีที่3
|
17
|
8
|
25
|
นางสาวดาราพร แง่พรม
|
|
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
|
17
|
10
|
27
|
นางสาวมณีวรรณ สอนนาม
|
นายอิทธิชัย ศรีกมล
|
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
|
18
|
13
|
31
|
นางสาวปิยะธิดา พลพุทธา
|
นายสิทธิพงษ์ จินเม็ง
|
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
|
11
|
13
|
24
|
นางอรนิตย์ พ่อไชยราช
|
นายเพชรัช ก้อนวิมล
|
รวมชั้นประถมศึกษา
|
84
|
68
|
152
|
|
|
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
|
18
|
8
|
26
|
นางสาวทัศวัณย์ กงบุราณ
|
นายโพธิ์เศรษฐ์ ศรีคัฆนพรม
|
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
|
17
|
5
|
22
|
นางสาวภาสิกา จันทวัณณ์โสภณ
|
นางสาวภักรัมภา ดาบชัย
|
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
|
8
|
14
|
22
|
นางวิลาวรรณ นาอินทร์
|
นายศักดิ์นรินทร์ คำมา
|
รวมชั้นมัธยมศึกษา
|
43
|
27
|
70
|
|
|
รวมทั้งสิ้น
|
154
|
128
|
282
|
|
|
โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างเวลาเรียน เป็นโครงสร้างแสดงรายละเอียดของเวลาเรียนทั้ง ๘ กลุ่มสาระ เป็นเวลาเรียนพื้นฐานและเพิ่มเติม และเวลาในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำแนกแต่ละชั้นปี
กลุ่มสาระการเรียนรู้
/กิจกรรม
|
เวลาเรียน
|
ระดับชั้นประถมศึกษา
|
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
|
ป.๑
|
ป.๒
|
ป.๓
|
ป.๕
|
ป.๕
|
ป.๖
|
ม.๑
|
ม.๒
|
ม.๓
|
ภาษาไทย
|
๒๐๐
|
๒๐๐
|
๒๐๐
|
๑๖๐
|
๑๖๐
|
๑๖๐
|
๑๒๐
|
๑๒๐
|
๑๒๐
|
คณิตศาสตร์
|
๒๐๐
|
๒๐๐
|
๒๐๐
|
๑๖๐
|
๑๖๐
|
๑๖๐
|
๑๒๐
|
๑๒๐
|
๑๒๐
|
วิทยาศาสตร์
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๑๒๐
|
๑๒๐
|
๑๒๐
|
สังคมศึกษา ศาสนาฯ
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๘๐
|
๑๒๐
|
๑๒๐
|
๑๒๐
|
ประวัติศาสตร์
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
๔๐
|
|
ปรับปรุงข้อมูลเมื่อ 2020-09-03 14:34:20 น.